วันอาทิตย์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

ยินดีต้อนรับ เข้าสู่การสมัคร Marketiva

ขั้นตอนที่จะสมัคร Marketiva

1. คลิ๊กที่ Open an Account



2. กรอกข้อมูลต่างๆ ดังภาพ ( ทุกช่องที่มี * และเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น)


กรุณากรอกเป็น ภาษาอังกฤษ เท่านั้น


  • Password: ....(รหัสผ่านที่จะใช้แนะนำให้ใช้ตัวอักษรผสมตัวเลข)
  • Re-type Password: ......(ซ้ำข้างบนอีกครั้ง)
  • First Name: .....ชื่อจริง
  • Last Name: ......นามสกุลจริง
  • Street Address:..... ที่อยู่
  • City:......... อำเภอ
  • Zip / Postal Code:... ขึ้นต้นด้วย 66/รหัสไปรษณีย์
  • State / Province: ...จังหวัด
  • Country / Region: ..... THAILAND
  • Phone: .....(ถ้ามือถือเราเป็นเบอร์ 0864203354 เปลี่ยนเลข 0 หน้าหมายเลขโทรศัพท์เป็น เลข 66 ก็จะได้เป็น 66864203354 )
  • E-Mail: อีเมลล์
  • กด Continue

3. เมื่อเสร็จ จะให้กรอกดังรูป







  • Recovery Question: ..... เลือกคำถาม
  • Recovery Answer: ....... คำตอบ
  • จากนั้น กด Next

4. จะมีกรอบใหม่เกิดขึ้นให้ คลิ๊กทำเครื่องหมายดังภาพ แล้วกด Finish



5. Download และติดตั้งโปรแกรม Streamster ลงบนคอมพิวเตอร์



จบขั้นตอนการสมัคร

เราจะได้รับเงินจากเว็บ ทั้งหมด 5 เหรียญ($)

การแสดงตน Identify Yourself Marketiva

การแสดงตน (Identify Yourself ) กับทาง Marketiva มีขั้นตอนดังต่อไปนี้

1. เข้าสู่ http://www.marketiva.com/?gid=8155 แล้วคลิ๊กที่ Account Center
2. ใส่ Username และ Passoword คลิ๊กที่ Log On

3. คลิ๊กที่ Services



4. คลิ๊กที่ Identify Yourself


5. ใส่ภาพลงในหัวข้อทั้ง 2 โดยมีขนาดไม่เกิน 100 K และต้องเป็น JPEG FORMAT เท่านั้น
แล้วคลิ๊กที่ Upload


ตัวอย่างเอกสารของบัตรประชาชน
ตัวอย่างเอกสารใบเสร็จค่าใช้จ่าย
(ไม่ควรเกิน 60 วัน)(Scan ส่งไปด้วยขนาดไม่เกิน 100 K และเป็น JPEG FORMAT เท่านั้น)


6. รอเวลา 1 - 2 วัน ถ้าผ่านการตรวจสอบแล้ว จะเป็นดังภาพ

วิธีการฝากเงินเข้า Marketiva

การฝากเงินเข้าที่ Marketiva มีขั้นตอนดังต่อไปนี้

1. เข้ามาใน http://www.marketiva.com/

2. กรอกชื่อในการเข้าเทรด และรหัสผ่าน ก็ Log On



2. เข้ามาใน Account Center เรียบร้อยแล้ว คลิ๊กที่ Deposit Funds
3. เลือก Liberty Reserve (LB)
4. กรอกข้อมูลบัญชี
  • เลขบัญชีที่ LB ของเราที่ Sender Account No.
  • จำนวนเงินที่ฝากเข้า Amount กี่เหรียญ

5. รอสักแปป จะพาไปยังเว็ป Liberty Reserve


6. เมื่อมาถึง Liberty Reserve เข้าที่ Login


7. ใส่ รหัสผ่าน(Password)บัญชี Liberty Reseve ของเรา
ใส่ Code ที่เห็นจากรูปภาพ
จากนั้น Login
8. คลิกที่กรอบ เล็กๆ แล้ว กด Contiune
9. เลือก Access main account

10. ใส่รหัสผ่าน (Login Pin)


11. ใส่รหัสมาเตอร์ (Master Key) 3 หลัก

12. เลือก Confim


13. เลือกที่ Retum to Merchant


14. เสร็จ

การย้ายเงินภายในบัญชี

การย้ายเงินภายในโปรแกรมเทรด เลือก Account Center และในเว็บมาเก็ตก็คล้ายๆๆกัน
เข้าสู่ขั้นตอนการโอนเงินเลือก Transfer funds



2. การย้ายข้ามบัญชี แบ่งเป็น 2 ช่อง From Desk / To Desk
มีให้เลือกดังนี้ในกรอบ
  • Defaut เปรียญกับสมุดบัญชีภายใน
  • Virtual Forex เงินจำลองในการเทรดค่าเงิน(ตัวนี้โอนหาได้เฉพาะกลุ่มเงินจำลอง)
  • Live Forex เงินจริงในการเทรดค่าเงิน
  • Virtual Funds เงินจำลองในการซื้อขายเหรียญจำลอง(ตัวนี้โอนหาได้เฉพาะกลุ่มเงินจำลอง)
  • Live Funds เงินในการซื้อขายเหรียญจริง
  • ตัวอื่นขึ้นอยู่กับเราเปิดเล่น เช่น โลหะมีค่า อินเด๊กซ์ หรือ กองทุน
กรณีการเล่นเงินจริงมี 2 กรณีคือ
  1. เอาเงินเข้าจากข้างนอกเพื่อเทรดให้เลือกโอนจาก Form Desk เลือก Defaut(จำนวนเงินที่มี) เพื่อที่เข้าบัญชี To Desk เลือก Live Forex /Live Funds/Live ตัวอื่น(จำนวนเงินที่มีในบัญชี) แล้วกรอกจำนวนเงินที่ต้องการเอามาเล่นไม่เกินที่มีในDefaut ที่ Amount กี่เหรียญ จากนั้นกด Transfer
  2. จะเอาเงินที่เราเล่นได้กำไรเพื่อที่จะต้องเตรียมถอนออกเอาไปใช้ เราต้องย้ายเงินจากบัญชีเทรด Live Forex / Live Funds / Live อื่นๆๆที่เราเล่น แล้วให้กลับมาที่บัญชี Defaut จำนวนเงินที่ต้องการถอนกรอกที่ Amount จากนั้นกดที่ Transfer


3. ยืนยันอีกครั้ง


4. เสร็จ





การถอนเงินจากบัญชี Marketiva

เมื่อจะถอนเงินออกมา ใช้จะต้องย้ายเงินจากบัญชีเทรดต่างๆๆ(Live Forex/Live Founds/Live) เอามาไว้ใน Defaut เตรียมเอาไว้ถอนออก แนะนำกรุณาถอนที่หน้าเว็ปเท่านั้นโดยมี่ขั้นตอนดังนี้





1. เข้าบัญชีเราที่หาเว็บ http://www.marketiva.com/ เลือก Account Center








2. กรอกชื่อบัญชี และรหัสผ่าน แล้ว Login On







3. เลือก Withdraw Funds






4. เลือกว่าจะถอนออกอะไร(เราเลือก Liberty Reserve)



5. กรอกข้อมูลต่างๆๆลงไป โดยการถอนครั้งแรกจะมีการหักค่าธรรมเนียมขึ้นอยู่กับเราเลือกอะไร(ดูจากย้อนหลังข้อที่ 4 ) การกรอกมีดังนี้ครับ
  • Recipent Account No. กรอกเลขบัญชีเรา(LRหรือตัวอื่นๆ)
  • ข้อความในกรอบสี่เหลี่ยมมี 2 ชุด
  1. I want to witharaw all existing in the ecrrency shown here. ถ้าเราเลือกแสดงว่าเราต้องการถอนออกหมดเลย (ไม่ต้องเลือก)
  2. Remeber this data and use it to per-fill the from next time, so I do not have to type-in all the data again. ตัวนี้เราจะต้องเลือกสามารถถอนเงินโดยมีการเก็บข้อมูลการถอนเพื่อใช้ในครั้งต่อๆไป (อันไม่ต้องเลือก หรือว่าแล้วแต่ท่าน)
  • ส่วนที่พิมพ์ว่า $ 7.00/Onee-oly Withdrawal by Liberty Reseve. Fee : This is s fee charged for a withdraw transaction made through Liberty Reseve. เขาบอกเราว่าหากเป็นการสั่งถอนด้วย LR ในครั้งแรกเราจะต้องโดนหักค่าธรรมเนียม 7 เหรียญ
  • สุดท้าย สั่งถอนเลย(Withdraw Funds)






เมื่อจบแล้ว เราจะต้องรอ 1-24 ชั่วโมง เพื่อให้ทางมาเก็ต สั่งถอนเงินให้เข้าบัญชีเรา หากเกิน 24 ชั่วโมงแล้วเงินไม่เข้าบัญชี ให้ติดต่อผู้ดูแล


อธิบายหน้าตากราฟ Marketiva

เมื่อเราได้ติดตั้งหน้าต่างโปรแกรมในการช่วยเทรดเงินของ Marketiva เรียบร้อยแล้ว เราสามารถเข้าสู่โปรแกรมโดยทำตามดังนี้

1. เลือกเข้า Marketiva ที่หน้า desktop หรือที่ เมนู start ==> all program ==> Marketiva จะมีหน้าต่างเล็กๆดังรูป



  • ช่องแรก กรอกชื่อที่ใช้ในการเล่น
  • ช่องสอง กรอกรหัสผ่านที่เราตั้งเอาไว้
  • หากเราต้องการเก็บข้อมูลกรุณาติ๊กในกรอบ [] Remember my password หากไม่ต้องการเก็บก็ไม่ต้องทำการใดๆๆ
  • จากนั้นก็เข้าโปรแกรมสั่งงานเทรดได้เลยที่ Sing In

2. จะปราฏหน้าต้างใหญ่ๆ ขึ้นมา

3. หน้าต่างจะแบ่งออกเป็น 4 ส่วนด้วยกัน

ทุกเมนูเล็กที่กล่าว สามารถโยกย้ายได้ โดยที่เรากดเมาส์ค้างไว้แล้วเราลากไปไว้ยังตำเหน่งที่เราต้องการ

  • กรอบที่ 1. จะมีเมนูให้เลือกอยู่ 4 ตัวเป็นเกี่ยวกับว่าเราสนใจเทรดอะไรบ้าง ดังนี้
  1. Forex เกี่ยวกับสกุลเงิน เช่น USD/EUR GBP/JPY
  2. Funds เกี่ยวกับกองทุนต่าง
  3. Indexes เกี่ยวกับตลาดหลักทรัพย์
  4. Commodites เกี่ยวกับโลหะมีค่า

ในข้อที่ Fund/Indexes/Commodites เราจะต้องมีทุนทรัพย์มากๆๆ จากจะทำการเข้าเทรดได้นะ ครับ

  • กรอบที่ 2. จะมีเมนูต่างๆเกี่ยวกับกราฟ รายงานข่าว ห้องสนทนา
  1. Charting ห้องกราฟ บ่งบอกถึงการวิ่ง ณ ปัจจุบัน สามารถเซตค่าได้(มีกล่าวในบทการตั้งค่ากราฟ)
  2. Discussions ห้องสนทนา(สร้างเพิ่มได้) ซึ่งมีหลายห้อง โดยห้องต่างๆสามารถสอบถามปัญหาต่างกับผู้ดูแล หรือจะคุยกับกลุ่มคนไทยพิมพ์ภาษาไทยได้และต่างประเทศมีรวมกัน 22 ประเทศ โดยไปเพิ่มได้ที่ Groups เลือกเอาเอง ตามแต่สะดวก
  3. Latest News ข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวกับการเงินหรือข่าวสำคัญต่าง
  • กรอบที่ 3. จะเป็นการบอกยอดเงินและสัญญาณเตือน
  1. Portfolio บอกถึงสถานะของเงินในบัญชี Virtual Forex/Funds(เงินจำลองใช้กับการฝึก) Live Forex/Funds/Commodities/Indexes(เงินจริงที่เลือกใช้เทรดกับอะไรเช่นสกุลเงิน เงินจริง โลหะมีค่า กองทุน)
  2. Alerts เป็นสัญญาณเตือนดดยการประกาศ หรือเสียงระฆัง

  • กรอบที่ 4. จะบอกรายละเอียดของการเทรดว่าเราลงกี่ตัว เท่าไร แบ่งเมนูย่อยดังนี้
  1. Orders เป็นที่เก็บรายการ Pending Ordes(สั่งซื้อล่วงหน้า) , รายการสั่งปิดล่วงหน้า Stop lot(จุดปิดที่เราย่อมเสีย) , Target(จุดปิดที่เราหวังจากการได้กำไร)
  2. Trades เป็นที่เก็บรายการสั่งซื้อสั่งขายทั้งหมด
  3. Positions เป็นที่เก็บรายการที่เราเทรดเล่นในปัจจุบัน
  4. Account Center เป็นที่เก็บข้อมูลการทำงานเราไม่ว่าจะ เป็นรายละเอียดของเรา และสามารถโอนเงินเข้าและโอนเอาออกจากบัญชีผ่านตรงนี้ก็ได้

4. รูปนี้แสดง Account Center

5. เมื่อเราคลิกซ้ายโดยเอาเมาส์ไปว่างที่กราฟ จะมีเครื่องมือในกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ส่วนกรอบอีกกรอบเป็นรายชื่อเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์สำหรับการเทรด

  • โดยกรอบเล็กมีรายการเรียงมาตามนี้
  • New Charting Tab สร้าง Chart ใหม่ขึ้นมา
  • Close Tab เอาไว้ปิด Chart ที่เรามีอยู่แล้ว
  • My Chart อันนี้เป็นที่เก็บ Chart ที่เราทำสำเร็จแล้ว เอาไว้ใช้
  • Save Chart เอาไว้เก็บไฟล์ Chart ที่เราลงเครื่องมือไว้
  • Instrument ตรงนี้จะมีรายชื่อสกุลเงิน(forex) หรือ อันอื่น แล้ว แต่เราเลือกดู
  • Timescale เอาไว้เลือกเวลาในการเทรดแบ่งเป็น 5/15/30 นาที, 1หรือ4 ชั่วโมง,วัน,อาทิตย์,เดือน
  • Style จะแสดงรูปแบบกราฟ เป็นแบบ กราฟเส้น กราฟแท่งเทียน
  • Zoom ย่อขยายกราฟ มี 50%, 75%, 100%, 125%
  • Indicators เครื่องมือเอาไว้ช่วยวิเคราะห์
  • Copy เอาว้คัดลอก
  • Show Positions ถ้าเลือกจะช่วยแสดงตำแหน่ง
  • Fixed Scale ถ้าเลือกซ่อมแซมการแสดงตำแหน่ง
  • Buy/Sell กำหนดออเดอร์ในการซื้อขาย โดยที่BUYหรือLONG(คำสั่งซื้อขาขึ้น) และSELLหรือSHORT(คำสั่งซื้อขาลง)
  • กรอบใหญ่เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ที่เราเรียกว่า Indicators โดยที่แต่ละตัวคืออะไรดังนี้

ดูจากฝั่งซ้ายมือไปขวามือเรียงจากบนลงล่างตามลำดับ บอกเท่าที่ทราบนะครับ

  1. Remove Active Indicators เครื่องมือเอาไว้ลบอินดี้ ที่เราสร้างในกราฟออก
  2. Trend Line เครื่องมือวัดเกี่ยวกับเส้น
  3. Text Label เอาข้อความไปว่างไว้หน้ากราฟ
  4. Price Pointer
  5. Symbol
  6. Horizomtal Line
  7. Fibonacci Retraccment เครื่องมือวัดระดับราคาที่ควรจะปรับหลังจากการปรับฐาน ตามตัวเลข Fibonacci แบง่ได้เป็น 38.2% 50% 61.8% 100% 161.8% 261.8% 361.8% 461.8%
  8. Fibonacci Arcs เป็นเครื่องมือวัดระดับราคาที่ควรจะปรับฐาน ในรูปแบบครึ่งวงกลม
  9. Fibonacci Fan เป็นเครื่องมือวัดระดับราคาที่ควรจะปรับฐาน ในรูปแบบพัด
  10. Moving Average เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
  11. Bollinger Bands เป็นกรอบการซื้อขายที่มีระยะห่างจากค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ที่เปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของราคา
  12. Parabolic SAR เป็นระบบหาค่าเฉลี่ย โดยจะสามารถให้จังหวะในการเข้าออก โดยอาศัยการเปรียบเทียบกันระหว่างราคาค่าเงินกับราคาเฉลี่ยราคาเงิน เป็นตัวบ่งบอกสัณญาญเข้าออก
  13. Avg Directional Movement Inder (ADX) ดัชนีทิศทางการเคลื่อนที่ของราคาโดยเฉลี่ย
  14. Commodity Channel Index (CCI)
  15. Average True Range (ATR)
  16. Linear Regression
  17. Time Series Forecast (TSF)
  18. Moving Avg Conv./Divergence (MACD) ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ร่วมทาง / แยกทาง
  19. Hilbert Transform Trend Line
  20. Hilbert Transform Dominat Cycle Period
  21. Hilbert Transform Dominant Cycle Phase
  22. Momentum เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้ในระยะสั้น ซึ่งสามารถใช้วีดการแกว่งตัวของราคาได้และเนื่องจากเป็นเครื่องมือระยะสั้นจึงเป็นเครื่องมือที่มักจะสวนทางกับแนวโน้มของราคา โดยจะนำมาใช้ดูสภาพในช่วงสั้นของตลาดว่า ขณะนั้นอยู่ในช่วงภาวะซื้อมากจนเกินไป (OVERBOUGHT) หรือ ขายมากจนเกินไป (OVERSOLD)
  23. Williams' %R เป็นเครื่องมือแสดงภาวะการซื้อหรือขายมากไป ซึ่งพิจารณาจากราคาปัจจุบันว่าอยู่ ณ ระดับราคาใดในช่วงเวลาหนึ่งๆ โดยจะบอกถึง สัณญาณซื้อจะเกิด เมื่อ %R ตัดเส้น ระดับ -90% ขึ้นไป และสัญญาณขายจะเกิดเมื่อ %R
    ตัดเส้นระดับ -10% ลงมา
  24. Relative Strength Index (RSI) เป็นเครื่องมือที่นำมาใช้วัดการแกว่งตัวของราคาหุ้น สำหรับการลงทุนในช่วงหนึ่ง เพื่อดูภาวะการซื้อมากเกินไป (OVERBOUGHT) หรือขายมากเกินไป (OVERSOLD)
  25. Rate of Change (ROC)
  26. Stochastic Show
    เป็นเครื่องมือวัดการแกว่งตัวของราคาที่ถูกทำให้ราบเรียบขึ้นกว่า Fast Stochastic สามารถบอกได้ถึง
    สัญญาณซื้อ-ขาย ซึ่ง จะใช้หลักเดียวกันกับ Fast Stochastic
  27. Stochastic Fast เป็นเครื่องมือวัดการแกว่งตัวของระดับราคาในปัจจุบันภายในช่วงกว้างของระดับราคา ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ
  28. Chaikin A/D Lind (AD) เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ทางเทคนิคอีกชนิดหนึ่ง ใช้มองแนวโน้มระยะกลางและระยะยาว ของทิศทางการเคลื่อนไหวของกลุ่มหุ้น ซึ่งหาได้จากผลต่างสะสมของจำนวนหุ้นบวก (หุ้นที่ราคาปิดสูงขึ้นจากวันก่อนหน้า) กับจำนวนหุ้นลบ (หุ้นที่ราคาปิดต่ำลงจากวันก่อนหน้า)
  29. Money Flow Index อีกตัวครับที่เอาไว้ใช้ดู Momentum ของ Volume ว่า over bought/sold
  30. Average Price
  31. Balance of Pomery
  32. Aroon Oscillator
  33. Chande Momentum Oscillator
  34. Ultimate Oscillator
  35. Absolute Price Oscillator (APO)
  36. Percentage Price Oscillator (PPO)
  37. Chaikin A/D Oscillator

5