1. เลือกเข้า Marketiva ที่หน้า desktop หรือที่ เมนู start ==> all program ==> Marketiva จะมีหน้าต่างเล็กๆดังรูป
- ช่องแรก กรอกชื่อที่ใช้ในการเล่น
- ช่องสอง กรอกรหัสผ่านที่เราตั้งเอาไว้
- หากเราต้องการเก็บข้อมูลกรุณาติ๊กในกรอบ [] Remember my password หากไม่ต้องการเก็บก็ไม่ต้องทำการใดๆๆ
- จากนั้นก็เข้าโปรแกรมสั่งงานเทรดได้เลยที่ Sing In
2. จะปราฏหน้าต้างใหญ่ๆ ขึ้นมา
3. หน้าต่างจะแบ่งออกเป็น 4 ส่วนด้วยกัน
ทุกเมนูเล็กที่กล่าว สามารถโยกย้ายได้ โดยที่เรากดเมาส์ค้างไว้แล้วเราลากไปไว้ยังตำเหน่งที่เราต้องการ
- กรอบที่ 1. จะมีเมนูให้เลือกอยู่ 4 ตัวเป็นเกี่ยวกับว่าเราสนใจเทรดอะไรบ้าง ดังนี้
- Forex เกี่ยวกับสกุลเงิน เช่น USD/EUR GBP/JPY
- Funds เกี่ยวกับกองทุนต่าง
- Indexes เกี่ยวกับตลาดหลักทรัพย์
- Commodites เกี่ยวกับโลหะมีค่า
ในข้อที่ Fund/Indexes/Commodites เราจะต้องมีทุนทรัพย์มากๆๆ จากจะทำการเข้าเทรดได้นะ ครับ
- กรอบที่ 2. จะมีเมนูต่างๆเกี่ยวกับกราฟ รายงานข่าว ห้องสนทนา
- Charting ห้องกราฟ บ่งบอกถึงการวิ่ง ณ ปัจจุบัน สามารถเซตค่าได้(มีกล่าวในบทการตั้งค่ากราฟ)
- Discussions ห้องสนทนา(สร้างเพิ่มได้) ซึ่งมีหลายห้อง โดยห้องต่างๆสามารถสอบถามปัญหาต่างกับผู้ดูแล หรือจะคุยกับกลุ่มคนไทยพิมพ์ภาษาไทยได้และต่างประเทศมีรวมกัน 22 ประเทศ โดยไปเพิ่มได้ที่ Groups เลือกเอาเอง ตามแต่สะดวก
- Latest News ข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวกับการเงินหรือข่าวสำคัญต่าง
- กรอบที่ 3. จะเป็นการบอกยอดเงินและสัญญาณเตือน
- Portfolio บอกถึงสถานะของเงินในบัญชี Virtual Forex/Funds(เงินจำลองใช้กับการฝึก) Live Forex/Funds/Commodities/Indexes(เงินจริงที่เลือกใช้เทรดกับอะไรเช่นสกุลเงิน เงินจริง โลหะมีค่า กองทุน)
- Alerts เป็นสัญญาณเตือนดดยการประกาศ หรือเสียงระฆัง
- กรอบที่ 4. จะบอกรายละเอียดของการเทรดว่าเราลงกี่ตัว เท่าไร แบ่งเมนูย่อยดังนี้
- Orders เป็นที่เก็บรายการ Pending Ordes(สั่งซื้อล่วงหน้า) , รายการสั่งปิดล่วงหน้า Stop lot(จุดปิดที่เราย่อมเสีย) , Target(จุดปิดที่เราหวังจากการได้กำไร)
- Trades เป็นที่เก็บรายการสั่งซื้อสั่งขายทั้งหมด
- Positions เป็นที่เก็บรายการที่เราเทรดเล่นในปัจจุบัน
- Account Center เป็นที่เก็บข้อมูลการทำงานเราไม่ว่าจะ เป็นรายละเอียดของเรา และสามารถโอนเงินเข้าและโอนเอาออกจากบัญชีผ่านตรงนี้ก็ได้
4. รูปนี้แสดง Account Center
5. เมื่อเราคลิกซ้ายโดยเอาเมาส์ไปว่างที่กราฟ จะมีเครื่องมือในกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ส่วนกรอบอีกกรอบเป็นรายชื่อเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์สำหรับการเทรด
- โดยกรอบเล็กมีรายการเรียงมาตามนี้
- New Charting Tab สร้าง Chart ใหม่ขึ้นมา
- Close Tab เอาไว้ปิด Chart ที่เรามีอยู่แล้ว
- My Chart อันนี้เป็นที่เก็บ Chart ที่เราทำสำเร็จแล้ว เอาไว้ใช้
- Save Chart เอาไว้เก็บไฟล์ Chart ที่เราลงเครื่องมือไว้
- Instrument ตรงนี้จะมีรายชื่อสกุลเงิน(forex) หรือ อันอื่น แล้ว แต่เราเลือกดู
- Timescale เอาไว้เลือกเวลาในการเทรดแบ่งเป็น 5/15/30 นาที, 1หรือ4 ชั่วโมง,วัน,อาทิตย์,เดือน
- Style จะแสดงรูปแบบกราฟ เป็นแบบ กราฟเส้น กราฟแท่งเทียน
- Zoom ย่อขยายกราฟ มี 50%, 75%, 100%, 125%
- Indicators เครื่องมือเอาไว้ช่วยวิเคราะห์
- Copy เอาว้คัดลอก
- Show Positions ถ้าเลือกจะช่วยแสดงตำแหน่ง
- Fixed Scale ถ้าเลือกซ่อมแซมการแสดงตำแหน่ง
- Buy/Sell กำหนดออเดอร์ในการซื้อขาย โดยที่BUYหรือLONG(คำสั่งซื้อขาขึ้น) และSELLหรือSHORT(คำสั่งซื้อขาลง)
- กรอบใหญ่เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ที่เราเรียกว่า Indicators โดยที่แต่ละตัวคืออะไรดังนี้
ดูจากฝั่งซ้ายมือไปขวามือเรียงจากบนลงล่างตามลำดับ บอกเท่าที่ทราบนะครับ
- Remove Active Indicators เครื่องมือเอาไว้ลบอินดี้ ที่เราสร้างในกราฟออก
- Trend Line เครื่องมือวัดเกี่ยวกับเส้น
- Text Label เอาข้อความไปว่างไว้หน้ากราฟ
- Price Pointer
- Symbol
- Horizomtal Line
- Fibonacci Retraccment เครื่องมือวัดระดับราคาที่ควรจะปรับหลังจากการปรับฐาน ตามตัวเลข Fibonacci แบง่ได้เป็น 38.2% 50% 61.8% 100% 161.8% 261.8% 361.8% 461.8%
- Fibonacci Arcs เป็นเครื่องมือวัดระดับราคาที่ควรจะปรับฐาน ในรูปแบบครึ่งวงกลม
- Fibonacci Fan เป็นเครื่องมือวัดระดับราคาที่ควรจะปรับฐาน ในรูปแบบพัด
- Moving Average เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
- Bollinger Bands เป็นกรอบการซื้อขายที่มีระยะห่างจากค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ที่เปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของราคา
- Parabolic SAR เป็นระบบหาค่าเฉลี่ย โดยจะสามารถให้จังหวะในการเข้าออก โดยอาศัยการเปรียบเทียบกันระหว่างราคาค่าเงินกับราคาเฉลี่ยราคาเงิน เป็นตัวบ่งบอกสัณญาญเข้าออก
- Avg Directional Movement Inder (ADX) ดัชนีทิศทางการเคลื่อนที่ของราคาโดยเฉลี่ย
- Commodity Channel Index (CCI)
- Average True Range (ATR)
- Linear Regression
- Time Series Forecast (TSF)
- Moving Avg Conv./Divergence (MACD) ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ร่วมทาง / แยกทาง
- Hilbert Transform Trend Line
- Hilbert Transform Dominat Cycle Period
- Hilbert Transform Dominant Cycle Phase
- Momentum เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้ในระยะสั้น ซึ่งสามารถใช้วีดการแกว่งตัวของราคาได้และเนื่องจากเป็นเครื่องมือระยะสั้นจึงเป็นเครื่องมือที่มักจะสวนทางกับแนวโน้มของราคา โดยจะนำมาใช้ดูสภาพในช่วงสั้นของตลาดว่า ขณะนั้นอยู่ในช่วงภาวะซื้อมากจนเกินไป (OVERBOUGHT) หรือ ขายมากจนเกินไป (OVERSOLD)
- Williams' %R เป็นเครื่องมือแสดงภาวะการซื้อหรือขายมากไป ซึ่งพิจารณาจากราคาปัจจุบันว่าอยู่ ณ ระดับราคาใดในช่วงเวลาหนึ่งๆ โดยจะบอกถึง สัณญาณซื้อจะเกิด เมื่อ %R ตัดเส้น ระดับ -90% ขึ้นไป และสัญญาณขายจะเกิดเมื่อ %R
ตัดเส้นระดับ -10% ลงมา - Relative Strength Index (RSI) เป็นเครื่องมือที่นำมาใช้วัดการแกว่งตัวของราคาหุ้น สำหรับการลงทุนในช่วงหนึ่ง เพื่อดูภาวะการซื้อมากเกินไป (OVERBOUGHT) หรือขายมากเกินไป (OVERSOLD)
- Rate of Change (ROC)
- Stochastic Show
เป็นเครื่องมือวัดการแกว่งตัวของราคาที่ถูกทำให้ราบเรียบขึ้นกว่า Fast Stochastic สามารถบอกได้ถึง
สัญญาณซื้อ-ขาย ซึ่ง จะใช้หลักเดียวกันกับ Fast Stochastic - Stochastic Fast เป็นเครื่องมือวัดการแกว่งตัวของระดับราคาในปัจจุบันภายในช่วงกว้างของระดับราคา ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ
- Chaikin A/D Lind (AD) เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ทางเทคนิคอีกชนิดหนึ่ง ใช้มองแนวโน้มระยะกลางและระยะยาว ของทิศทางการเคลื่อนไหวของกลุ่มหุ้น ซึ่งหาได้จากผลต่างสะสมของจำนวนหุ้นบวก (หุ้นที่ราคาปิดสูงขึ้นจากวันก่อนหน้า) กับจำนวนหุ้นลบ (หุ้นที่ราคาปิดต่ำลงจากวันก่อนหน้า)
- Money Flow Index อีกตัวครับที่เอาไว้ใช้ดู Momentum ของ Volume ว่า over bought/sold
- Average Price
- Balance of Pomery
- Aroon Oscillator
- Chande Momentum Oscillator
- Ultimate Oscillator
- Absolute Price Oscillator (APO)
- Percentage Price Oscillator (PPO)
- Chaikin A/D Oscillator
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น